บ้านหลังคาจั่ว สวยๆ ที่องศาลาดเอียงต่ำ
บ้านหลังคาจั่ว สวยๆ การปลูกสร้างบ้าน ส่วนหลังคานอกจาก เป็นส่วนประกอบสำคัญที่ ช่วยป้องกันแดด ลม และน้ำฝนแล้ว แบบหรือรูปทรงหลังคายังเป็นส่วนที่ช่วยให้บ้าน ดูโดดเด่นสวยงาม หลังคาทรงจั่ว เป็นหนึ่งในแบบหลังคาบ้าน ที่ได้รับความนิยม และพบเห็นได้มาก
บ้านหลังคาทรงจั่ว เป็นแบบหลังคาบ้าน ที่มีเอกลักษณ์ และเป็นทรงพื้นฐานที่พบเห็น ได้ทั่วไปในประเทศไทย ลักษณะทรงหลังคาเป็นหน้าจั่วสามเหลี่ยมยาวไ ปตลอดทั้งอาคารมีด้านปะทะ ลมสองด้านและด้านลาดชันสองด้าน ซึ่งองศาความลาดเอียงของ ทั้งสองฝั่งอาจจะเท่า หรือ ไม่เท่ากันก็ได้ เมื่อมองจากไกลจะมอง เห็นทรงหลังคาเป็นรูป
หลังคาทรงจั่ว เหมาะกับบ้านประเภท เป็นแบบหลังคาบ้านของ ไทยมาตั้งแต่ยุคโบราณ เพราะเหมาะกับการสร้างบ้าน ในสภาพอากาศร้อนชื้น นอกจากนิยมใช้เป็นหลัง บ้านเรือนไทยแล้ว หลังคาทรงจั่ว ยังประยุกต์ใช้ กับบ้านแบบสมัยใหม่ได้หลากหลาย เช่น หลังคาทรงจั่วกับ บ้านปูนเปลือย หรือหลังคาสองสองชั้น ทรงจั่วสามเหลี่ยม

แบบบ้านหลังคาจั่ว องศาลาดเอียงต่ำ เหมือนเป็นส่วนหนึ่งของเนินดิน
แนวคิดในการสร้าง บ้าน ใหม่ๆ ไม่ได้ตีกรอบเฉพาะว่า “บ้าน” เป็นแค่ที่อยู่อาศัย แต่มีการตี ความแยกย่อยออกไปได้มากมายความ ความคาดหวังของผู้ใช้งานด้วย อย่างสถาปนิก Mcterra Architects ได้ทำงานร่วมกับเจ้าของบ้านในอินเดีย จนได้ข้อสรุปออกมาว่า บ้าน คือการยกระดับ และแสดงศิลปะของสถาปัตยกรรมไว้ในที่เดียว
นอกจากนี้ ภายนอก และภายในยังเชื่อมต่อกัน เพื่อขับเน้นความสงบ และความสุข ให้บ้านเป็นทั้งมุมผ่อนคลาย ใช้ชีวิตในแบบที่ชอบ และใส่ลูกเล่นใน การออกแบบเส้นสายที่น่าสนุก
Bizarre เป็นที่พักอาศัยที่สวยงาม ขนาดพื้นที่ 487 ตารางเมตร ตั้งอยู่ท่ามกลางแมกไม้เขียวขจี แวดล้อมภูมิทัศน์อัน สวยงามในเมือง Ernakulam รัฐ Kerala ประเทศอินเดีย ออกแบบอย่างประณีต โดยสถาปนิก Colin Jose Thomas จาก McTerra Architects & Designers
ซึ่งใส่แนวคิดให้ภายในบ้านมีทั้งสุนทรียศาสตร์แบบดั้งเดิม ในขณะที่มีบางส่วนตีความ ในรูปแบบร่วมสมัย ด้วยรูปทรงบ้านหลังคาจั่ว ลาดเอียงลงมาต่ำ ๆ เหมือนรูปตัว A สนามหญ้ากว้าง และชุดสีเอิร์ธโทน ให้บรรยากาศ ที่ทันสมัย

สถาปนิกจะนำความลาดชัน ที่เป็นจุดเด่นของที่ดิน มาผสานที่พักอาศัยเข้ากับภูมิทัศน์ ทำให้บ้านกับธรรมชาติ กลายเป็นเหมือนส่วนหนึ่ง ของกันและกันอย่างแนบสนิท ด้วยการสร้างอาคารเป็นชุดรูปร่างตัว A หรือสามเหลี่ยมหลาย ๆ อาคาร ให้ส่วนตัวอาคารจะปักลง ไปเป็นส่วนหนึ่งของ สนามหน้าที่เป็นเนินรับกันพอดี มองดูจากภายนอกเหมือน มีแต่หลังคาจั่วโผล่ขึ้นมาจากดิน
จากถนนทางเข้าจะมีวงเวียน และสนามหญ้าเขียวๆ วางแผ่นคอนกรีตทางเดินสั้นบ้างยาวบ้าง เมื่อมองดูจากด้านบนลงมาแบบ Bird’s eyes view จะเห็นรูปร่างเรขาคณิต เหมือนสัญลักษณ์ ลึกลับบางอย่างที่น่าสนใจ บ้านแฝด
อาคารหลักที่อยู่หลัง สระว่ายน้ำนั้น จะเป็นโซนสาธารณะ ที่รวมเอาห้องนั่งเล่น ห้องทานข้าว ครัว และห้องน้ำ เข้าไว้ด้วยกันในจุดเดียว เป็นห้องโถงแบบ open plan ใหญ่ ๆ สมาชิกในบ้านสามารถ เข้ามาใช้งานได้พร้อมๆ กันหลายคนได้ ตกแต่งบ้านด้วยอิฐในโทนสีขาว เทา ตัดด้วยงานไม้ สีน้ำตาลซึ่งเป็นวัสดุพื้นถิ่น สิ่งที่น่าสนใจหลัก ๆ
นอกจากการจัดฟังก์ชัน แบบใหม่ๆ ให้เข้ากับวัสดุที่คุ้นตา และหาได้ในท้องถิ่นแล้ว ยังใส่รูปร่างเรขาคณิต ในรูปแบบที่หลากหลายลงในตัวบ้าน ไม่ว่าจะเป็นเส้นบนผนัง ทางเดิน หรือผนัง ประตูที่เป็นรูกลมๆ

ห้องนั่งเล่นที่อยู่ตรงกลาง เชื่อมต่อไปยังสระว่ายน้ำ
เปิดผนังกว้างเชื่อมต่อไปยังสระว่ายน้ำ และคอร์ทยาร์ทข้างหลัง ทำให้บ้านต่อเชื่อมได้ทั้งสองด้าน ดูเหมือนเป็นอิระไร้ขอบเขต ใส่จุดโฟกัสสายตาตรงนี้ด้วยการกรุเพดานด้วยไม้ และต่อนื่งเป็นเสาไม้ลงมา 4 เสา เหมือนเป็นซุ้มอยู่กลางบ้าน เน้นพื้นที่ที่อยาก ให้มองยิ่งโดดเด่นเห็น รูปร่างหลังคาชัดเจนจากจุดอื่นๆ
หลังทำครัวเสร็จแล้ว กำลังอยากล้างมือหรือเปล่า ที่นี่มีมุมล้างมือที่ไม่เหมือนบ้านไหน ๆ เพราะเคาน์เตอร์ เป็นคอนกรีตยาววางอ่างล้างมือ 2 ชุด ให้ใช้งานได้หลายคนพร้อมกัน ในขณะที่กำลังล้างมือให้ถึง 20 วินาที เพื่อสุขอนามัยที่ดี ก็ทอดสายตาออกไป ชมวิวสวนสีเขียวผ่าน กระจกใสไปเพลิน ๆ ในวันที่อยากเปลี่ยน บรรยากาศทานข้าว ทำงาน อ่านหนังสือ หรือ live ก็แวะเวียนมาใช้พื้นที่ที่เหลือข้างๆ ได้ phuket property

บ้านนี้เป็นโครงการที่ขนาด ค่อนข้างใหญ่ ประกอบด้วยหลายอาคาร เพื่อรองรับลักษณะการอยู่อาศัย สไตล์อินเดียที่อยู่รวมกัน หลายครอบครัวในพื้นที่เดียว ซึ่งแม้จะมีความใกล้ชิด สนิทสนมกันในครัวเรือน แต่ก็ยังต้องการพื้นที่ส่วนตัว นอกจากอาคารหลักที่ เป็นพื้นที่สาธารณะแล้ว ยังมีอีก 2 อาคารที่เรียงยาวขนานกัน และใส่คอร์ทคั่นตรงกลาง เป็นห้องนอนแบบ Private ที่ไม่ปะปนกับโซน Public
ภาพรวมของ Public zone ที่แต่ละฟังก์ชันถูกออกแบบ ให้มีความโปร่ง โล่ง ไม่มีผนังก่อปิดทึบกั้น ระหว่างห้อง ทำให้ทุกส่วนของบ้านเข้าถึงกันได้ทั้งหมด สามารถรองรับการใช้งานในชีวิตประจำวัน และวันรวมญาติในโอกาสพิเศษที่จะมีสมาชิกมาเพิ่มได้อีกนับสิบ ๆ คน หากบริเวณในตัวอาคารดูแออัด ก็ขยับขยายเปิดประตูบ้าน ออกไปเชื่อมต่อกับสวนได้อีก
บ้านหลังคาจั่ว องศาเอียงต่ำ ลงมามากกว่าปกติ ทำให้ได้ประโยชน์หลาย ประการ ไม่ว่าจะทำหน้าที่เป็นเป็น ชายคาให้ร่มเงา ปกป้องห้องต่างๆ ที่ใช้วัสดุกระจกจากแสงแดด ที่ค่อนข้างรุนแรงใน ช่วงกลางวัน กันฝนสาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งสร้างพื้นที่ใต้ชายคา เป็นเฉลียงขนาดใหญ่ที่ใช้งานเพิ่มเติมแบบกึ่งกลางแจ้งได้ บ้านแฝด

การจัดบ้านแบบ Open Plan ที่ไม่มีผนังแบ่งกั้นห้อง หรือใช้ผนังให้น้อยที่สุดนั้น จะช่วยเชื่อมโยงพื้นที่ต่างๆ ภายในบ้านให้เข้าถึงกันได้มากขึ้น ทำให้รู้สึกว่าบ้านดูมีพื้นที่กว้าง ขวางมากยิ่งขึ้น ภายในสัญจรง่าย โล่งโปร่งสบาย ไม่อึดอัด นอกจากนี้ยังช่วยให้ทุกคน ในครอบครัวมีปฏิสัมพันธ์ที่ดี และสามารถทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกันได้ในคราวเดียว

ข้อดีของหลังทรงจั่ว
- เป็นหลังคาที่สามารถ รับลมได้ดีที่สุด และก่อสร้างได้ง่ายกว่าหลังคาทรงอื่น
- หลังคาทรงจั่ว จะมีพื้นที่ใต้หลังคามาก มวลอากาศใต้หลังคาจะทำหน้าที่เสมือนเป็นฉนวนอีก
- หนึ่งชั้น ช่วยกันความร้อนไม่ให้เข้ามาภายในบ้าน
- ความลาดชันของหลังคาทรงจั่ว หรือยื่นชายคาให้ มีระยะมากขึ้น ก็จะสามารถกันแดดกันฝน ได้ดีมากขึ้น บ้านเดี่ยว
ข้อเสีของหลังคาทรงจั่ว
- ข้อด้อยของ หลังคาทรงจั่ว แม้รูปทรงของหลังคา ทรงจั่วด้านปะทะจะรับลมได้ดี แต่อาจเกิดเหตุการณ์ ฝนสาดได้หากตัวบ้าน และหน้าจั่วหันผิดทิศ บ้านทำเลดี
- สำหรับบ้านหลังคาทรงจั่ว นอกจากประยุกต์ใช้กับ แบบบ้านสมัยใหม่ได้แล้ว วัสดุโครงหลังคา ยังใช้ได้ทั้งโครงไม้ และโครงหลังคาเหล็ก